
ขั้นตอนการปฏิบัติตัว หลังกรณีเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย บริษัท อาคเนย์ประกันภัย (มหาชน) และ บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) โดยให้มีผลตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 นี้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้มีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565
ตามคำสั่งกระทรวงการคลังที่ 670/2565 และคำสั่งกระทรวงการคลังที่ 671/2565 ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย เพื่อคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด โดยกองทุนประกันวินาศภัยจะเข้ามาเป็นผู้ชำระบัญชีและดำเนินการจ่ายเคลมสินไหมให้กับผู้เอาประกันภัยที่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนใบอนุญาตทั้งสองบริษัท

ท่านสามารถทำเรื่องยื่นเคลมออนไลน์กับทางกองทุนประกันวินาศภัย (กปว.) โดยไม่ต้องไปสำนักงาน กปว. ที่ลิงก์ >> (https://rps-sev.gif.or.th/Login)



เอกสารที่ใช้ประกอบการยื่นขอรับชำระหนี้ต่อกองทุนประกันวินาศภัยเบื้องต้น ดังนี้
1. หน้าตารางกรมธรรม์
2. ผลตรวจแบบ RT PCR
3. ใบรับรองแพทย์
4. บัตรประชาชนผู้เอาประกัน
5. หน้าบุ๊คแบงค์ผู้เอาประกัน / ผู้รับผลประโยชน์
6. ใบคำขอทวงนี้
7. หนังสือรับรองบริษัท (กรณีเป็นนิติบุคคล)
หมายเหตุ : เมื่อยื่นผ่านออนไลน์แล้ว ให้ปริ้นเอกสารเลขที่คำทวงหนี้ และรวบรวมเอกสารทั้งหมดส่งไปรษณีย์ไปยัง สำนักงาน กปว.



วิธีการโหลดกรมธรรม์ช่องทางต่างๆ
|
|

|

|

|
|
|
|

|

|
 |
|









1. ลงทะเบียนผ่านกองทุนประกันวินาศภัย หรือ กปว. ผ่านเว็บไซต์ออนไลน์ที่ https://rps-sev.gif.or.th/Login
หรือ สแกน QR Code ลงทะเบียนกวป. ตามรูปภาพด้านล่าง
2. เมื่อท่านกรอกข้อมูลคำทวงหนี้และแนบเอกสารประกอบการทวงหนี้ออนไลน์เรียบร้อยแล้ว
ท่านจะได้เอกสารใบคำขอเลขที่ใบทวงหนี้ขึ้นในระบบ
3. หลังจากนั้น ให้ท่านพิมพ์เอกสารใบคำขอเลขที่คำทวงหนี้ออกจากระบบได้เลย
4. รวบรวมเอกสารทั้งหมด นำส่งไปรษณีไปยังสำนักงาน กปว.
ที่อยู่ : กองทุนประกันวินาศภัย เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 ชั้น 15 ถนนวิภาวดีรังสิต
แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900”
ท่านสามารถติดต่อกองทุนประกันวินาศภัย (กปว.) เพิ่มเติมได้ที่เบอร์ 02-791-1444 ต่อ 26-30


เข้าสู่เว็บไซต์ กปว.


ขั้นตอนการปฏิบัติตัว หลังกรณีเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย บริษัท อาคเนย์ประกันภัย (มหาชน) และ บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) โดยให้มีผลตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 นี้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้มีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565
ตามคำสั่งกระทรวงการคลังที่ 670/2565 และคำสั่งกระทรวงการคลังที่ 671/2565 ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย เพื่อคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด โดยกองทุนประกันวินาศภัยจะเข้ามาเป็นผู้ชำระบัญชีและดำเนินการจ่ายเคลมสินไหมให้กับผู้เอาประกันภัยที่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนใบอนุญาตทั้งสองบริษัท

ท่านสามารถทำเรื่องยื่นเคลมออนไลน์กับทางกองทุนประกันวินาศภัย (กปว.) โดยไม่ต้องไปสำนักงาน กปว. ที่ลิงก์ >> (https://rps-sev.gif.or.th/Login)



เอกสารที่ใช้ประกอบการยื่นขอรับชำระหนี้ต่อกองทุนประกันวินาศภัยเบื้องต้น ดังนี้
1. หน้าตารางกรมธรรม์
2. ผลตรวจแบบ RT PCR
3. ใบรับรองแพทย์
4. บัตรประชาชนผู้เอาประกัน
5. หน้าบุ๊คแบงค์ผู้เอาประกัน / ผู้รับผลประโยชน์
6. ใบคำขอทวงนี้
7. หนังสือรับรองบริษัท (กรณีเป็นนิติบุคคล)
หมายเหตุ : เมื่อยื่นผ่านออนไลน์แล้ว ให้ปริ้นเอกสารเลขที่คำทวงหนี้ และรวบรวมเอกสารทั้งหมดส่งไปรษณีย์ไปยัง สำนักงาน กปว.



วิธีการโหลดกรมธรรม์ช่องทางต่างๆ
|
|

|

|

|
|
|
|

|

|
 |
|









1. ลงทะเบียนผ่านกองทุนประกันวินาศภัย หรือ กปว. ผ่านเว็บไซต์ออนไลน์ที่ https://rps-sev.gif.or.th/Login
หรือ สแกน QR Code ลงทะเบียนกวป. ตามรูปภาพด้านล่าง
2. เมื่อท่านกรอกข้อมูลคำทวงหนี้และแนบเอกสารประกอบการทวงหนี้ออนไลน์เรียบร้อยแล้ว
ท่านจะได้เอกสารใบคำขอเลขที่ใบทวงหนี้ขึ้นในระบบ
3. หลังจากนั้น ให้ท่านพิมพ์เอกสารใบคำขอเลขที่คำทวงหนี้ออกจากระบบได้เลย
4. รวบรวมเอกสารทั้งหมด นำส่งไปรษณีไปยังสำนักงาน กปว.
ที่อยู่ : กองทุนประกันวินาศภัย เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 ชั้น 15 ถนนวิภาวดีรังสิต
แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900”
ท่านสามารถติดต่อกองทุนประกันวินาศภัย (กปว.) เพิ่มเติมได้ที่เบอร์ 02-791-1444 ต่อ 26-30


เข้าสู่เว็บไซต์ กปว.
